โรค ของ ปลา นิล

  1. โรคของปลานิล
  2. การเลี้ยงปลานิล | kanninini

บ่อเลี้ยงปลานิลร่วมกับเลี้ยงกุ้งขาว 2. คุณพรชัย-บัวประดิษฐ์-ผู้เลี้ยงปลานิลร่วมกับเลี้ยงกุ้งขาว 3.

โรคของปลานิล

การเตรียมบ่อเพาะพันธุ์ บ่อดินที่ใช้เป็นบ่อเพาะปลานิลควรเป็นบ่อรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีเนื้อที่ตั้งแต่ 50-1, 600 ตารางเมตร สามารถเก็บกักน้ำได้ระดับสูง 1 เมตร บ่อควรมีเชิงลาดตามความเหมาะสม เพื่อป้องกันดินพังทลาย และมี ชานบ่อกว้าง 1-2 เมตร ถ้าเป็นบ่อเก่าก็ควรวิดน้ำและสาดเลนขึ้น ตกแต่งภายในบ่อให้ดินแน่น ใส่โล่ติ๊น กำจัดศัตรูของปลาอัตราส่วนใช้โล่ติ๊นแห้ง 1 กก. / ปริมาตรของน้ำ 100 ลูกบาศก์เมตร โรยปูนขาวให้ทั่วบ่อ 1 กก. / พื้นที่บ่อ 10 ตรม. ใส่ปุ่ยคอกแห้ง 300 กก. / ไร่ ตากบ่อทิ้งไว้ประมาณ 2-3 วัน จึงเปิดหรือสูบน้ำเข้าบ่อ ผ่านผ้ากรองหรือตะแกรงตาถี่ให้มีระดับสูงประมาณ 1 เมตร การใช้บ่อดินเพาะปลานิลจะมีประสิทธิภาพ ดีกว่าวิธีอื่น เพราะเป็นบ่อที่มีลักษณะคล้ายคลึงธรรมชาติ และการผลิตลูกปลานิลจากบ่อดินจะได้ผลผลิตสูง ต้นทุนต่ำกว่าวิธีอื่น 2. การคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์ การคัดเลือกพ่อแม่ปลานิล จากการสังเกตจากลักษณะภายนอกของปลาที่สมบูรณ์ปราศจากเชื้อโรคและบาดแผล สำหรับพ่อแม่ปลาที่พร้อมจะวางไข่นั้นสังเกตได้จากอวัยวะเพศถ้าเป็นปลาตัวเมีย จะมีสีชมพูแดงเรื่อ ส่วนปลาตัวผู้ก็สังเกตได้ จากสีของตัวปลาที่เข้มสดใสโดยเปรียบเทียบกับปลานิล ตัวผู้อื่น ๆ ที่จับขึ้นมา ขนาดของปลาตัวผู้และตัวเมียควรมีขนาดไล่เลี่ยกันคือมีความยาวตั้งแต่ 15-25 เซนติเมตร น้ำหนักตั้งแต่ 150-200 กรัม 3.

Go to content บทความ > การเลี้ยงปลานิล โรคในปลานิล สามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิดหลัก ๆ คือ โรคติดเชื้อ (infectious diseases) อาจมีสาเหตุเกิดมาจากไวรัส แบคทีเรีย ปรสิตหรือเชื้อรา พบได้ทั่วไป โดยเฉพาะบริเวณเหงือกและผิวหนัง ปลาจะมีเมือกมากผิดปกติ อาจสังเกตเห็นแผลตามลำตัว ปรสิตบางชนิดก่อให้เกิดมีจุดขาว ๆ บนลำตัว สีของลำตัวปลาที่มีปรสิตเกาะอาจจะซีดหรือเข้มผิดปกติ ว่ายน้ำทุรนทุราย ทำให้ปลาระคายเคือง น้ำหนักลด 1. เห็บระฆัง (Trichodina sp) ปรสิตนี้พบในเหงือกและผิวตัวปลานิลเกือบทุกตัว 2. ปลิงใส (monogenes) ส่วนใหญ่พบเกาะอยู่ตามซี่เหงือกและบริเวณผิวหนัง ที่พบบ่อยในปลาน้ำจืด 3. โรคเห็บปลา ปลาที่มีเห็บปลาเกาะจะสังเกตเห็นพยาธิรูปร่างกลม สีเขียวปนน้ำตาล พบตามลำตัวและครีบในปลามีเกล็ด 4. โรคหมัดปลาหรือเห็บสายฟ้า หมัดปลามีลำตัวยาวรีและเป็นปล้อง มีสีแดงเข้มจนเกือบดำ ปลาที่มีหมัดจะว่ายน้ำทุรนทุรายกระโดดขึ้นผิวน้ำ โรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ลักษณะการติดเชื้อทางแบคทีเรียจะคล้าย ๆ กัน จะมีการตกเลือด มีแผลตาลำตัวครีบกร่อน กกหูบวน มีน้ำในช่องท้อง ไม่กินอาหาร ที่พบบ่อยมี 2 ชนิด 1. โรคเกิดจากเชื้อแอโรโมแนส (Aeromonas hydrophila) ปลาติดเชื้อจะว่ายน้ำเฉื่อยชา ไม่กินอาหาร ครีบกร่อนมีการตกเลือกเกิดบาทแผลเป็นหลุมลึก ท้องบวม ตับเหลือง มีการตกเลือดบริเวณลำไส้ยาที่ใช้ในการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย ได้แก่ ออกซิเตตร้าซัยคลิน / เททราซัยคลิน / ออกโซลินิคแอซิค (oxolinic acid) ควรใช้ยาติดต่อกัน 5 – 14 วัน 2.

3/5] เลี้ยงปลานิล รายได้ครึ่งแสน written by คุณรัตนชัย ม่วงงาม (เปี๊ยก) average rating 2. 3 / 5 - 55 user ratings

การเลี้ยงปลานิล | kanninini

น้ำหนักตั้งแต่ 150-200 กรัม สำหรับอัตราส่วนในการพ่อแม่พันธุ์ประมาณไร่ละ 400 ตัว และควรปล่อยอัตราส่วนพ่อปลา 2 ตัว แม่ปลา 3 ตัว เพื่อโอกาสในการขยายพันธุ์ตามธรรมชาติที่มากขึ้น การให้อาหารปลานิลในบ่อ การเลี้ยงปลานิลจำเป็นต้องให้อาหารสมทบหรืออาหารผสม ได้แก่ ปลายข้าว สาหร่าย รำละเอียดในอัตราส่วน 1:2:3 โดยให้อาหารดังกล่าวแก่พ่อแม่ปลานิลประมาณ 2% ของน้ำหนักตัว ส่วนปุ๋ยคอกแห้งก็ต้องใส่ในอัตราส่วนประมาณ 100-200 กก. /ไร่/เดือน เพื่อเป็นการเพิ่มพูนอาหารธรรมชาติในบ่อ ได้แก่ พืชน้ำขนาดเล็ก ไรน้ำและตัวอ่อน อันจะเป็นประโยชน์ต่อลูกปลานิลวัยอ่อน การให้อาหารปลานิลจึงถือเป็นต้นทุนหลักของเกษตรกร ส่วนใหญ่ที่ใช้กันเช่น รำข้าว ผสมกับปลาป่น กากถั่ว และวิตามิน นอกจากนี้ยังมีแหนเป็ด และสาหร่าย ก็สามารถใช้เป็นอาหารเสริมแก่ปลานิลได้อย่างดีเช่นกัน ระยะเวลาในการเติบโตและผลผลิต ปลานิลเป็นปลาที่มีการเจริญเติบโตเร็ว เมื่อได้รับการเลี้ยงดูอย่างถูกต้องจะมีขนาดเฉลี่ย 500 กรัมในเวลา 1 ปี ผลผลิตไม่น้อยกว่า 500 กก. /ไร่/ปี ซึ่งระยะเวลาในการจับจำหน่ายขึ้นอยู่กับขนาดของปลานิลและความต้องการของตลาด โดยทั่วไปหากเป็นปลานิลในบ่อรุ่นเดียวกันจะใช้เวลาประมาณ 1 ปี จึงจะจับจำหน่าย ราคาของปลานิลถ้าเป็นไซด์ขนาด 0.

  • Cbr1000 ปี 2008 corvette
  • ฤ.ว2 เกิดอะไรขึ้น - YouTube
  • หลุด ! ภาพเคสใสของสมาร์ตโฟน Google Pixel 6 และ Pixel 6 Pro ! - TechHangout
  • เลี้ยงปลานิล รายได้ครึ่งแสน - ไทยเอสเอ็มอีเซ็นเตอร์ | รวมเอสเอ็มอีไทย SMEs
  • การเลี้ยงปลานิล | kanninini
  • ตร.ชี้ 'เฟิร์ส อนุวัฒน์' ลงคลิปฉาวในไอจี ต้องพิสูจน์ แม้เจ้าตัวอ้างไม่เจตนา สยามรัฐ
  • Exploring reading & writing level 3 เฉลย

สัตวแพทย์ ม. เกษตร แนะ "ปลา" เป็นแหล่งโปรตีนที่ย่อยง่าย อุดมด้วยกรดไขมันชนิดดี แร่ธาตุ และวิตามินที่สำคัญ ระบบการเลี้ยงในปัจจุบันมีการทำเทคโนโลยีทันสมัยมาประยุกต์ใช้ เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด พร้อมปฏิบัติตามหลักสวัสดิภาพสัตว์ เพื่อให้สัตว์มีความสุขกาย สบายใจ ย้ำผู้บริโภคมั่นใจคุณภาพเนื้อปลาปราศจากยาปฏิชีวนะและสารเคมีตกค้าง ปลอดภัย ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม อ. สพ. ญ. ดร. ปริญทิพย์ วงศ์ไทย ภาควิชาเวชศาสตร์และทรัพยากรการผลิตสัตว์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กล่าวว่า จากจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น ผนวกกับความต้องการบริโภคอาหารที่ดีเพิ่มขึ้นแบบก้าวกระโดดตามเทรนด์ใส่ใจสุขภาพ จึงส่งผลให้ผู้ประกอบการหรือเกษตรกรผู้เลี้ยงมีการพัฒนารูปแบบ และวิธีการเลี้ยงตามระบบมาตรฐาน คำนึงถึงสุขภาพสัตว์ มนุษย์ และสิ่งแวดล้อม ปลาทับทิมเริ่มมีการเลี้ยงตั้งแต่ปี พ. ศ.

น้ำหนักตั้งแต่ 150-200 กรัม สำหรับอัตราส่วนในการพ่อแม่พันธุ์ประมาณไร่ละ 400 ตัว และควรปล่อยอัตราส่วนพ่อปลา 2 ตัว แม่ปลา 3 ตัว เพื่อโอกาสในการขยายพันธุ์ตามธรรมชาติที่มากขึ้น การให้อาหารปลานิลในบ่อ การเลี้ยงปลานิลจำเป็นต้องให้อาหารสมทบหรืออาหารผสม ได้แก่ ปลายข้าว สาหร่าย รำละเอียดในอัตราส่วน 1:2:3 โดยให้อาหารดังกล่าวแก่พ่อแม่ปลานิลประมาณ 2% ของน้ำหนักตัว ส่วนปุ๋ยคอกแห้งก็ต้องใส่ในอัตราส่วนประมาณ 100-200 กก. /ไร่/เดือน เพื่อเป็นการเพิ่มพูนอาหารธรรมชาติในบ่อ ได้แก่ พืชน้ำขนาดเล็ก ไรน้ำและตัวอ่อน อันจะเป็นประโยชน์ต่อลูกปลานิลวัยอ่อน การให้อาหารปลานิลจึงถือเป็น ต้ น ทุ น หลักของเกษตรกร ส่วนใหญ่ที่ใช้กันเช่น รำข้าว ผสมกับปลาป่น กากถั่ว และวิตามิน นอกจากนี้ยังมีแหนเป็ด และสาหร่าย ก็สามารถใช้เป็นอาหารเสริมแก่ปลานิลได้อย่างดีเช่นกัน ระยะเวลาในการเติบโตและผลผลิต ปลานิลเป็นปลาที่มีการเจริญเติบโตเร็ว เมื่อได้รับการเลี้ยงดูอย่างถูกต้องจะมีขนาดเฉลี่ย 500 กรัมในเวลา 1 ปี ผลผลิตไม่น้อยกว่า 500 กก. /ไร่/ปี ซึ่งระยะเวลาในการจับ จำ ห น่ า ย ขึ้นอยู่กับขนาดของปลานิลและความต้องการของตลาด โดยทั่วไปหากเป็นปลานิลในบ่อรุ่นเดียวกันจะใช้เวลาประมาณ 1 ปี จึงจะจับ จำ ห น่ า ย ร า ค า ของปลานิลถ้าเป็นไซด์ขนาด 0.