การละเล่น ไทย กระโดด เชือก

การกระโดดเชือกมี 2 แบบ คือ การกระโดดเชือกเดี่ยว และการกระโดดเชือกหมู่ ใช้หนังหนังยางถักร้อยจนเป็นเส้นยาว หรือ เชือกปอ ยาวพอที่จะตวัดพ้นศีรษะ ขมวดหัวท้ายเพื่อกันเชือกลุ่ย เวลาเล่นแกว่งเชือกด้วยมือทั้งสองข้าง แล้วกระโดขึ้นลงตรงกลาง การกระโดดเชือกหมู่จะใช้เชือกที่ยาวกว่า มีผู้เล่นสองคนจับหัวท้ายข้างละคน คอยแกว่งหรือไกวเชือก สามารถกระโดดได้พร้อมกันหลายๆ คน

กระโดดเชือกเดี่ยว - การละเล่นไทย

หมากเก็บ การละเล่นยอดฮิตสำหรับเด็กผู้หญิง ปกติจะใช้ผู้เล่น 2-4 คน และใช้ก้อนกรวดกลมๆ 5 ก้อนหรือโซ่พลาสติกนำมาร้อยเป็นก้อนก็ได้ หมากเก็บ มีวิธีเล่นหลายอย่าง แต่ละอย่างก็จะมีชื่อเรียกต่างกันไป เช่น หมากพวง, หมากจุ๊บ, อีกาเข้ารัง การเล่นหมากเก็บเป็นการฝึกสมาธิ เกิดไหวพริบในการแก้ปัญหา ฝีกน้ำใจเป็นนักกีฬา รปลูกฝังความรักความสามัคคีในหมู่เด็ก 9. กระโดดเชือก การละเล่นของกลุ่มเด็กผู้หญิง ซึ่งใช้ทักษะตามความสามารถพอตัวแต่ละคนต่างๆ กันไป แล้วแต่หุ่น และความคล่องแคล่ว ปราดเปรียวเป็นเรื่องของบุคคล มีหลายท่า หลายแบบ ยิ่งใครโดดได้สูง ท่าแปลกยิ่งเป็นที่ชื่นชมของเพื่อนๆ ในสภาพสังคมปัจจุบัน ที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจและความเครียดในสังคม การส่งเสริมการเล่นแบบสมัยก่อน อาจเป็นวิธีการหนึ่งที่ช่วยลดช่องว่างในหมู่เด็ก สร้างความช่วยเหลือเกื้อกูลกันในสังคม เป็นการสร้างพื้นฐานที่ดีให้แก่เด็ก เพื่อเติบโตเป็นสมาชิกที่ดีในสังคมไทยในอนาคตค่ะ

ากนั้นก็วัดจากส่วนโคนเข้ามาประมาณ 3 – 5 นิ้ว แล้วใช้มีดเฉือนด้านข้างของก้านกล้วยทั้ง 2 ข้าง เฉือนประมาณ 1 เซนติเมตร เพื่อใช้ทำเป็นหูม้า 3. หักส่วนโคนของก้านกล้วยที่เฉือนไว้ทั้ง 2 ด้านลงก็จะได้ส่วนหัวม้าแล้วนำไม้กลัดหรือไม้เสียบลูกชิ้น เสียบเข้าไปตรงหัวม้ากับลำตัวของม้าเพื่อไม่ให้หัวม้าหลุด 4. ทำเชือกผูกลำตัวของม้า (บริเวณใกล้กับคอม้า) แล้วนำมาผูกติดกับหางของม้า เพื่อใช้ทำเป็นสายสะพายให้ผู้ขี่คล้องไว้ที่คอ วิธีเล่น 1. ให้ผู้เล่น ขี่ม้าก้านกล้วยของตนเอง โดยใช้มือข้างหนึ่งถือก้านมะพร้าวหรือก้านมะยม 2. ผู้เล่นยืนประจำที่ เพื่อรอสัญญาณปล่อยออกวิ่ง 3. เมื่อได้ยินสัญญาณ ผู้เล่นต้องวิ่งควบม้าไปจนถึงเส้นชัยให้เร็วที่สุด ถ้าผู้เล่นวิ่งไปถึงเส้นชัยแล้วให้วิ่งกลับมาให้เพื่อนในกลุ่มได้เล่นจนหมดทุกคนกลุ่มไหนหมดก่อนเป็นผู้ชนะ ********************************************************************* กิจกรรมที่ 7 ป๊อกป่าม่วง สถานที่เล่น: เล่นได้ทั่วไป ที่มีความปลอดภัย จำนวนผู้เล่น: เล่นได้ทั้งชายและหญิง ไม่จำกัดจำนวนผู้เล่น อุปกรณ์: 1. ลูกมะม่วงอ่อนขนาดหัวแม่มือ จำนวน 24 ลูก 2. เชือกสำหรับร้อยมะม่วง 8 เส้นๆ ละ 20 เซนติเมตร 3.

วิ่งวัวหรือวิ่งเปี้ยว แบ่งผู้เล่นเป็น 2 ฝ่ายเท่า ๆ กัน โดยปักหลักไว้ทั้ง 2 ข้าง หรือใช้คนนั่งเป็นหลักก็ได้ ระยะห่างประมาณ 50 เมตร มีกรรมการตัดสิน 1 คน เริ่มต้นพร้อมกันทั้งสองข้าง ต้องวิ่งล้อมหลักและวิ่งไล่ฝั่งตรงข้ามให้ทัน ในมือถือผ้าคนละผืน เมื่อถึงฝ่ายของตน ส่ง ผ้าให้คนต่อไป เป็นเช่นนี้ไปจนกว่าจะมีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งวิ่งทันฝ่ายตรงจ้าม เมื่อไล่ทันให้นำผ้าที่ถือว่าตีไปที่หลังถือว่าฝ่ายนั้นชนะ การ ละ เล่น ไทย 7. มอญซ่อนผ้า ผ้า 1 ผืน เป็นอุปกรณ์การเล่น เป่ายิงฉุบ เลือกคนที่เป็นมอญ จากนั้นคนอื่น ๆ นั่งล้อมวง คนที่เป็นมอญถือผ้าไว้ในมือ เดินวนอยู่นอกวง คนที่นั่งล้อมวงอยู่จะร้องเพลง ระหว่างนั้นคนที่เป็นมอญจะทิ้งผ้าไว้หลังใครก็ได้ แต่ต้อง พราง ไว้เป็นว่ายังถือผ้าอยู่ เมื่อเดินกลับมา ผ้ายังที่อยู่เดิม ก็หยิบผ้าไล่ตีผู้อื่น ผู้เล่นนั้นต้องวิ่งหนีไปรอบ ๆ วง แล้วจึงนั่งได้ ผู้เป็นมอญจะเดินวนต่อไปหาทางวางผ้าให้ผู้อื่นใหม่ ถ้าใครรู้สึกตัวแล้วคลำพบผ้าจะวิ่งไล่ตีมอญไปรอบวง 1 รอบ มอญต้องรีบวิ่งหนีมานั่งแทนที่ คนไล่ก็ต้อง เป็นมอญแทน 8.

ให้ผู้เล่นทุกคนยืนอยู่บนกะลา โดยใช้นิ้วหัวแม่เท้าและนิ้วชี้หนีบเชือกที่ก้น กะลาไว้ทั้งสองข้าง แล้วเอามือดึงเชือกให้ตึง 2. ผู้เล่นทุกคนยืนอยู่ในแถวเดียวกันเป็นแถวตอน 3 แถว พร้อมรอสัญญาณ เตรียมตัวที่จะแข่งขันเดินกะลา 3. เมื่อสัญญาณดังขึ้น คนที่เล่นเป็นคนแรกต้องรีบไปให้ถึงเส้นชัย แล้วเดิน กลับมาที่เดิมเพื่อจะให้เพื่อที่อยู่ในกลุ่มเดียวกันเดินเป็นคนต่อไป จนหมดในกลุ่ม กลุ่มไหนเล่นหมดก่อนถือว่าชนะ ********************************************************************* กิจกรรมที่ 6 การเล่นขี่ม้าก้านกล้วย สถานที่เล่น: บริเวณลานกว้างทั่วไป เช่น ลานบ้าน ลานวัด สนามในโรงเรียน จำนวนผู้เล่น: เล่นได้ทั้งชายและหญิง ไม่จำกัดจำนวนผู้เล่น อุปกรณ์: 1. ก้านกล้วยตัดเอาใบออกให้เหลือไว้ เฉพาะส่วนปลายทำหางม้าจำนวน 24ท่อน 2. มีด 3. ไม้กลัด หรือไม้เสียบลูกชิ้นยาวประมาณ 5 นิ้ว (ใช้ยึดคล้องคอม้าติดกับลำ ต้น) จำนวน 24 ท่อน 4. เชือก (ใช้สำหรับคล้องม้าให้ผู้ขี่สะพาย) 5. ก้านมะพร้าวหรือก้านมะยม (ใช้สำสำหรับเป็นทาสม้า) วิธีทำอุปกรณ์ 1. เมื่อได้ก้านกล้วยขนาดพอเหมาะแล้ว ให้ตัดเอาใบที่ส่วนปลายออก โดยให้เหลือใบส่วนปลายเอาไว้เพื่อทำเป็นหางม้า 2.

3) ผู้เล่นที่ถูกคล้องตัวไว้ ก็จะถูกลงโทษ หรือถูกให้มาเป็นประตูแทน ประโยชน์ของการละเล่นรีรีข้าวสาร เพิ่มความสนุกสนาน เล่นได้ตั้งแต่เด็กเล็กๆ ช่วยให้เพลิดเพลิน จิตใจแจ่มใส รู้จักการทำงานเป็นกลุ่มและมีไหวพริบ คนที่เป็นหัวแถวต้องพยายามเดินให้เร็ว พาเพื่อนให้รอดจากการถูกกักตัวให้ได้ 6. ตี่จับ ตี่จับ เป็นการละเล่นที่มีมาแต่โบราณ เคยนิยมเล่นในการเทศกาลประจำปี มีวิธีการเล่นดังนี้ 6. 1) แบ่งผู้เล่นออกเป็น 2 ทีมเท่าๆ กัน 6. 2) ฝ่ายที่เป็นตี่ก่อน เลือกผู้เล่น 1 คน เพื่อเข้าไปตี่ คนที่ตี่จะต้องทำเสียง "ตี่" หรือ "หึ่ม" ตลอดเวลาที่เข้าไปวิ่งจับตัวฝ่ายตรงข้าม ถ้าระหว่างทำเสียงตี่หยุดลง ต้องตกเป็นเชลยของฝ่ายตรงข้าม 6. 3) ฝ่ายตรงข้ามต้องคอยพยายามรั้งตัวคนที่เป็นตี่ ไม่ให้กลับเข้าฝ่ายแดนของตัวเอง 6. 4) เมื่อมีฝ่ายของตนเป็นเชลย ผู้เป็นตี่คนต่อไปต้องคอยพาตัวตี่คนเดิมกลับมา ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามต้องกันตัว และพยายามดึงตี่มาเป็นเชลยเพิ่ม จนกว่าตี่จะหมดทั้งทีม 6. 5) เล่นจนกว่าจะมีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหมดตัวผู้เล่นก่อน ฝ่ายชนะจะสั่งให้ผู้แพ้ทำอะไรก็ได้ ประโยชน์ของการเล่นตี่จับ ช่วยในการวางแผนและออกกำลัง ให้ผู้เล่นมีความสามัคคี 7.

การละเล่นไทย: กระโดดเชือกเดี่ยว

งูกินหาง งูกินหาง เป็นการละเล่นไทยที่เลียนแบบการเคลื่อนไหวและธรรมชาติของงู โดยแบ่งผู้เล่นออกเป็น 2 ฝั่ง ฝั่งแม่งูจะปกป้องลูกงู มีวิธีการเล่นดังนี้ 7. 1) จับไม้สั้นไม้ยาว หรือตกลงกันว่า ใครจะเป็นพ่องู กับแม่งู คนที่เหลือต่อแถวแม่งู เป็นลูกงู 7. 2) พ่องูและแม่งูหันหน้าเข้าหากัน ร้องเพลงโต้ตอบกัน เมื่อเพลงจบ แม่งูต้องวิ่งพาลูกงูหนี 7. 3) พ่องูวิ่งไล่จับลูกงูทีละคน ประโยชน์ของการละเล่นงูกินหาง สร้างความสนุกสนาน และฝึกความสามัคคีให้กับเด็กๆ ตั้งแต่วัยเยาว์ 8. เดินกะลา เดินกะลา เป็นการละเล่นไทยที่ใช้ของใกล้ตัวมาเป็นอุปกรณ์การละเล่น ฝึกกล้ามเนื้อเท้า ให้แข็งแรง มีวิธีการเล่นดังนี้ 8. 1) กำหนดจุดเริ่มต้นและเส้นชัย 8. 2) ผู้เล่นแข่งขันกัน เหยียบบนกะลา คล้ายการใส่รองเท้าหูหนีบ 8. 3) ยกเชือกก้าวเดินไปจนกว่าจะถึงเส้นชัย การเดินบนกะลา ฝึกทักษะการทรงตัว และฝึกความอดทน ตอนเดินแรกๆ อาจจะรู้สึกเจ็บเท้า แต่หากฝึกเดินจนคล่องแล้ว ก็จะรู้สึกสนุก 9. ลิงชิงหลัก ลิงชิงหลัก เป็นการละเล่นไทยที่ใช้ต้นไม้ หรือเสาใต้ถุนบ้าน เป็นอุปกรณ์การเล่น มีวิธีการเล่นดังนี้ 9. 1) กำหนดเสาหลัก น้อยกว่าจำนวนผู้เล่น 1 เสา เช่น มีผู้เล่น 5 คน ก็กำหนดเสา 4 ต้น 9.

กระโดดเชือก / กระโดดหนังยาง / กระโดดหนังสติ๊ก การกระโดดเชือกมี 2 แบบ คือ การกระโดดเชือกเดี่ยว และการกระโดดเชือกหมู่ ใช้หนังสติ๊ก (หนังยาง) ถักร้อยจนเป็นเส้นยาว หรือ เชือกปอ ยาวพอที่จะตวัดพ้นศีรษะ ขมวดหัว - ท้ายเพื่อกันเชือกลุ่ย เวลาเล่นแกว่งเชือกด้วยมือทั้งสองข้าง แล้วกระโดขึ้นลงตรงกลาง การกระโดดเชือกหมู่จะใช้เชือกที่ยาวกว่า มีผู้เล่นสองคนจับหัวท้ายข้างละคน คอยแกว่ง (หรือไกว) เชือก สามารถกระโดดได้พร้อมกันหลายๆ คน

เด็ก ๆ ในปัจจุบันหลาย ๆ คน อาจจะไม่รู้จัก การละเล่นไทย เท่าไรนัก เนื่องจากยุคสมัยที่เปลี่ยนไป จากที่แต่ก่อนเด็ก ๆ ต้องออกมากบ้านมาเล่นกลางแจ้ง มาทำกิจกรรมร่วมกัน สมัยนี้ก็หันมานัดพบปะพูดคุยกันผ่านสื่อโซเชียลมีเดียที่สื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ตนั่นเอง วันนี้ TheAsianparent ขอนำการละเล่นไทยมาแบ่งปันให้เหล่าคุณพ่อคุณแม่นำไปบอกต่อลูก ๆ หรือนำไปเป็นกิจกรรมภายในครอบครัวกันค่ะ การละเล่นไทย 1. เดินกะลา จำนวนผู้เล่น: ไม่จำกัดจำนวนผู้เล่น วิธีเล่น นำเชือกหนึ่งเส้นยาวประมาณ 1 วา เพื่อมาร้อยกับกะลามะพร้าว 2 อัน แล้วผู้เล่นขึ้นไปยืนบนกะลามะพร้าว โดยใช้นิ้วหัวแม่เท้ากับนิ้วชี้หนีบเส้นเชือกเอาไว้ทั้ง 2 เท้า (เหมือนกับหนีบรองเท้าฟองน้ำ) เมื่อเริ่มเล่นทุกคนยืนอยู่ที่เส้น พอได้ยินเสียงสัญญาณให้รีบ เดิน ไปที่เส้นชัย ใครถึงก่อนถือว่าชนะ 2.

3) หากเหยียบเชือก หรือสัมผัสเชือก หรือทำผิดกติกาที่กำหนด ถือว่าเกมสิ้นสุดลง ข้อควรระวังก็คือ การสะบัดเชือก ไม่ให้ฟาดกับศีรษะและร่างกายของเพื่อนจนอาจได้รับบาดเจ็บ รวมถึงควรผลัดกันแกว่งเชือกไปมา ป้องกันการเมื่อยล้า ประโยชน์ของการกระโดดเชือก คือการพัฒนาไหวพริบ 3. ขี่ม้าส่งเมือง ขี่ม้าส่งเมือง เป็นการละเล่นไทย 4 ภาค ที่สืบทอดกันมาอย่างยาวนาน แสดงถึงวัฒนธรรมการปกครองในอดีต มีเจ้าเมือง ลูกเมือง เชลย ม้า โดยมีวิธีการเล่นดังนี้ 3. 1) แบ่งผู้เล่นออกเป็น 2 ทีม ตั้งคนเป็นเจ้าเมือง คนอื่นๆ ในทีมเป็นลูกเมือง ส่วนใครที่ถูกจับได้ จะกลายเป็นเชลย มีวิธีเล่นดังนี้ 3. 2) ผู้เล่นในทีมที่ 1 มากระซิบบอกชื่อผู้เล่นในทีมที่ 2 คนหนึ่งกับเจ้าเมือง 3. 3) จากนั้นทีมที่ 2 ส่งตัวแทนออกมาหาเจ้าเมือง แล้วพูดชื่อผู้เล่นทีมตัวเองออกมา หากตรงกับชื่อที่ทีมที่ 1 บอกไว้เจ้าเมืองจะร้องว่า "โป้ง" 3. 4) ผู้เล่นที่ถูกโป้งต้องตกเป็นเชลย และฝ่ายใดถูกจับเป็นเชลยหมดก่อน ก็ต้องแพ้กลายเป็น "ม้า" ให้ฝ่ายชนะขี่หลังกลับไปส่งที่เมือง ความสนุกของเกมขี่ม้าส่งเมืองไม่ได้อยู่ที่การผลัดกันเป็นม้าอย่างเดียว ยังมีประโยชน์ให้เด็กๆ ได้ฝึกความพร้อมเพรียง และการประสานงานในกลุ่ม รวมถึงการฝึกกำลังแขนขาที่แข็งแรง พร้อมกับการใช้ชีวิตด้านอื่นอีกด้วย 4.

  1. การเล่นกระโดดเชือก - การละเล่นพื้นบ้านทั้ง4ภาค
  2. กระโดดเชือกเดี่ยว - การละเล่นไทย
  3. การกระโดดเชือก
  4. Rtx 8000 ราคา price