Growth Mindset หมาย ถึง, ขอทราบแนวทางการสร้าง Growth Mindset ที่เป็นรูปธรรม เพื่อจะนำไปพัฒนาบุคลากรค่ะ|Hr Board

ครู พ่อแม่ มีหน้าที่ช่วย "ชง" หรือ "Built" ให้เด็กเกิดแรงบันดาลใจ ความสนใจ จุดประกายให้เด็กเกิด Passion เพื่อให้เป็นตัวหนุนเสริมให้เด็กอยากเรียนรู้ ค้นคว้าให้มากขึ้น ลึกขึ้น มีสายตาสุนทรียะในการมองสิ่งต่างๆ หรือไปถึงขั้นเป็นผู้ร่วมสร้างสรรค์ ร่วมสร้างนวัตกรรมได้ 6. ให้เด็กได้ทำในสิ่งที่ท้าทาย ทำสิ่งที่ยากขึ้น มีความเสี่ยงบ้าง เพื่อให้ทักษะสมอง EF ได้ทำงาน ได้พัฒนา 7. ทำให้เด็กมีความกระหายใคร่รู้ (Curiosity) ในการเรียนรู้อยู่เสมอ ให้เด็กมีส่วนร่วม ให้เป็นผู้ริเริ่ม ไม่ใช่เกิดจากผู้ใหญ่เป็นผู้กำหนด ให้เด็กเห็นคุณค่า ความหมายของสิ่งที่เรียน เด็กจะมีแรงจูงใจ มีความอยากที่จะรู้มากขึ้น และสิ่งสำคัญ ถ้าเด็กทำโครงงาน (Project) ใดก็ตาม ครูต้องไม่กังวลเรื่องผลปลายทาง ถึงจะล้มเหลวก็ไม่เป็นไร เด็กจะได้เรียนรู้จากความล้มเหลว ความผิดพลาด 8. การประเมินเด็ก โรงเรียนและครูสามารถประเมินเด็กจากกระบวนการทำงาน จากคะแนนเก็บที่มาจากการทำงาน โดยไม่ได้ประเมินจากการสอบปลายภาคการศึกษาอย่างเดียว ระบบการประเมิน การ Feed Back ต้อง Feed Back ที่กระบวนการทำงาน ระหว่างการทำงานอย่างสม่ำเสมอ และเมื่อเด็กส่งชิ้นงาน ไม่ควรประเมินที่ชิ้นงาน แต่ Feed Back ที่กระบวนการ ให้เห็นว่างานที่สำเร็จหรือไม่สำเร็จนั้นเป็นที่กระบวนการใด อย่างไร และในหนึ่งคาบการเรียนรู้ ควรมีการ Feed Back หลายครั้ง เพื่อให้เกิดการประเมินอย่างต่อเนื่อง และทันทีขณะเรียน 9.

Worksheets

กล่าวคือองค์กรมักจ้างคนจาก hard skill และไล่คนออกด้วย soft skill เนื่องจากถึงแม้จะทำงานเก่งแต่หากทำงานร่วมกับผู้อื่นไม่ได้การทำงานก็ไม่มีประสิทธิภาพและยังสร้างปัญหามากมายตามมาให้องค์กร ในทางกลับกันหากพนักงานคนนั้นมี soft skill ที่ดีก็จะมีโอกาสเลื่อนขั้นและก้าวหน้าในองค์กร

  • How To พัฒนา 4 ทักษะสำคัญ รอดแน่! แม้เจอโควิด Mekha News (มีค่านิวส์) : เว็บไซต์ข่าว ที่จะนำเสนอข่าวสารเพื่อรักษาสิทธิให้กับคุณ
  • Growth mindset หมาย ถึง 7
  • Growth mindset หมาย ถึง 1

การวิเคราะห์ (Analysis) คนที่มีการคิดวิเคราะห์บวกกับความคิดสร้างสรรค์จะสามารถเข้าใจและมองเห็นผลลัพธ์การทำงานที่จะเกิดขึ้นว่า สิ่งไหนจะเกิดผลดีหรือไม่ดี จากนั้นจะนำสิ่งที่วิเคราะห์ได้ไปสร้างสรรค์ไอเดียใหม่ ๆ ให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีกว่า ทักษะการวิเคราะห์เกี่ยวข้องกับ การศึกษาข้อมูล (Research) การคาดการณ์ (Prediction) การตีความหมาย (Data interpretation) การตัดสินใจ (Decision-Making) การสื่อสาร (Communication) การสะท้อนคิด (Reflection) 2. การเปิดใจ (Open mindedness) เพียงแค่เปิดใจ เพราะมันเป็น main key ที่ทำให้เราได้หลุดออกจากกรอบความคิดเดิม ๆ เพียงแค่เปิดโอกาสให้ตัวเองได้ค้นพบความเป็นไปได้ที่จะเกิดขึ้น ได้เรียนรู้และพัฒนาทักษะใหม่ ๆ และได้วิสัยทัศน์ที่กว้างไกลมากยิ่งขึ้น การเปิดใจเกี่ยวข้องกับ ความยืดหยุ่น (Flexibility) ความเต็มใจที่จะเรียนรู้ (Willingness to learn) การคิดเชิงวิพากษ์ (Critical-thinking) การเปิดรับความคิดและข้อมูลใหม่ ๆ (Receptiveness to other's ideas and new information) การเปิดให้มีการอภิปราย (Availability for discussion) การทำงานร่วมกัน (Collaboration) 3. การแก้ไขปัญหา (Problem-solving) ทักษะการแก้ไขปัญหาเป็นทักษะอันดับต้น ๆ ที่หลาย ๆ องกรค์มองหา เพราะองค์กรจะดูว่า เมื่อเราเผชิญกับปัญหาใดก็ตามที่ไม่คาดคิด เราจะรับมือกับมันได้หรือไม่ คิดหาวิธีแก้ไขใหม่ ๆ ได้ด้วยตัวเองโดยอาศัยความคิดสร้างสรรค์ที่เรามี ทักษะการแก้ไขปัญหาเกี่ยวข้องกับ การสื่อสาร (Communication) การคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical thinking) การระดมความคิด (Brainstorming) การจัดลำดับความสำคัญ (Prioritization) การวางแผน (Planning) การประสาน (Coordination) การบริหารเวลา (Time-management) ความสามารถส่วนบุคคล (Interpersonal abilities) 4.

กลุ่มทักษะความเป็นผู้นำ กลุ่มทักษะที่จะพาทั้งตัวเอง และคนอื่นรอดไปด้วยกัน ทั้งภาวะความเป็นผู้นำ (Leadership) การเข้าอกเข้าใจผู้อื่น (Empathy) และการสื่อสาร (Communication) องค์กรไม่สามารถรอดไปได้ ถ้าขาดแรงขับเคลื่อนจากบุคลากร และการเรียนรู้ไปพร้อมกัน ที่มา: เพจ Future Trends

Chart

ทักษะในการแก้ไขปัญหาเชิงซ้อน (complex problem-solving) ไม่ว่าจะการเรียนหรือการทำงาน กิจกรรมเหล่านี้ต่างก็เกี่ยวพันกับปัจจัยอื่น ๆ อีกสารพัดอย่าง เช่น การเรียนผ่าน video conference ที่ตัวนักเรียนจะต้องเตรียมความพร้อมทั้งด้านเนื้อหา เครื่องเขียน อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ฯลฯ ทำให้กิจกรรมหนึ่งอาจเผชิญกับอุปสรรคต่าง ๆ ที่ดาหน้าเข้ามาพร้อม ๆ กัน ทักษะในการคิดแก้ไขปัญหาเชิงซ้อนอย่างเป็นระบบจะทำให้เห็นถึงภาพรวมของปัญหา เพื่อที่เราจะแก้ไขได้ตรงจุดและให้กิจกรรมนั้น ๆ ดำเนินต่อไปได้อย่างราบรื่น ถือเป็นทักษะที่สำคัญมากสำหรับทุกคน และแน่นอนว่าทักษะในข้อ 10 จะหนุนเสริมทักษะในข้อนี้ได้เป็นอย่างดี 12.

8 พ. ย. 2021 เวลา 02:50 • ธุรกิจ ช. การช่าง บริษัทรับเหมา ที่มีโมเดลรายได้ ไม่เหมือนใคร พอพูดถึงวงการรับเหมาก่อสร้างในประเทศไทย 3 บริษัทรายใหญ่ในกลุ่มนี้คือ - ช. การช่าง - อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ - ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่งแอนด์คอนสตรัคชั่น ที่น่าสนใจคือ ในบรรดาทั้ง 3 รายนี้ "ช. การช่าง" เป็นบริษัทที่มีรายได้น้อยที่สุด แต่กลับมีกำไรมากที่สุดในกลุ่ม ในช่วงครึ่งแรกของปีนี้ โมเดลรายได้ของ ช. การช่าง เป็นอย่างไร ทำไมถึงทำกำไรได้มาก ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง จุดเริ่มต้นของ ช. การช่าง นั้น มาจากตระกูลตรีวิศวเวทย์ ซึ่งเป็นตระกูลที่อพยพมาจากเมืองจีน ก่อนที่จะเข้ามาลงหลักปักฐานในจังหวัดสุพรรณบุรี ต่อมาตระกูลตรีวิศวเวทย์ ตัดสินใจย้ายเข้ามาหาโอกาสที่ดีกว่าในกรุงเทพมหานคร โดยเริ่มจากการทำธุรกิจอู่ซ่อมรถในปี พ. ศ. 2495 และจากธุรกิจอู่ซ่อมรถ ก็ขยับขยายมาทำธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง โดยในปี พ. 2515 คุณปลิว ตรีวิศวเวทย์ ซึ่งปัจจุบันเป็นประธานกรรมการบริหารของบริษัท พร้อมกับพี่น้อง ได้ร่วมกันก่อตั้ง ช. การช่าง ช่วงแรก ช. การช่าง เป็นเพียงสำนักงานเล็ก ๆ ในตึกแถว 2 ชั้น พร้อมด้วยพนักงานเพียงไม่กี่คน ในช่วงที่ ช. การช่าง ก่อตั้งขึ้นนั้น เป็นช่วงเวลาเดียวกับที่ประเทศไทยกำลังมุ่งพัฒนาประเทศ มีโครงการก่อสร้างต่าง ๆ เกิดขึ้นมากมาย โดยเฉพาะงานโยธาและงานก่อสร้างอาคารทั้งของภาครัฐและเอกชน ซึ่งเรื่องนี้ก็ส่งผลให้ ช.